Tara Mantra

There are many videos on Tara Mantra on Youtube, but this one stands out for its very beautiful music setting. You see a girl sitting and meditating. On top of her head is Master Tsongkhapa. Deep in his heart is the Bodhisattva Tara, and deep inside her breast is the letter TAM, her seed syllable, surrounding by the ten syllables of her mantra – Om Tara Tuttare Ture Svaha. This the standard method of meditating on Tara. The idea is to visualize that one ultimately is identified with the Bodhisattva herself. What this means is that one accepts all the qualities of Tara into oneself, so that there is no distinction whatsoever between oneself and Tara. Or to put it another way, one does actually become Tara in one’s meditation. This does not mean that one is having an illusion or is becoming crazy, like a patient who thinks that he is Napoleon; but it means that the aim of the meditation is to acquaint the mind with Tara herself. To become one with Tara means that one is losing oneself —  one is letting go of one’s own ego and one’s own personality, and merges into something much larger. It is pure spirituality. After identifying oneself with Tara, it is necessary that the practitioner ends the session with the ‘dissolution’ or ‘completion’ stage, where one visualizes that Tara dissolves back into her seed syllable, and finally into empty space, and then one remains within the meditation in emptiness — no thought, no fabrication. The two stages of the meditation — the visualization and the completion stage — always complement each other and the meditation will not be complete without both of them.

 

วิสาขโพธิจิตภาวนา

วิสาขโพธิจิตภาวนา
(VISAKHAPUJA BODHICITTA MEDITATION)
วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน กิจกรรมเริ่มเวลา 11.00 น. ถึง เวลา 13.00 น. ของวันอังคารที่ 5 มิถุนายน 2555
ศูนย์ขทิรวัน หัวหิน

มูลนิธิพันดาราขอเชิญกัลยาณมิตรร่วม กิจกรรม “วิสาขโพธิจิตภาวนา” (Visakhapuja Bodhicitta Meditation) ในปีพุทธชยันตี ณ ศูนย์ขทิรวัน หัวหิน เพื่อน้อมราลึกถึงการตรัสรู้และเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

กิขกนนใประกอบด้วยการกราบอัษฎางคประดิษฐ์ร่วมกันในโครงการ “26 วัน ศิโรราบ ปราบอัตตา” สวดบทเจริญโพธิจิตอันเป็นบทหัวใจของการตรัสรู้ธรรมเดินเวียนเทียน ถวายดวงประทีป 1000 ดวง ณ บริเวณก่อสร้างพระศานติตารามหาสถูป ทาสมาธิและเจริญหลักธรรมเรื่องความเป็นอนิจจังและความตาย พร้อมทั้งสวดมนตราอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ

การแต่งกาย : เสื้อขาวหรือสีสุภาพ กางเกงใส่สบายขายาว หรือขาสามส่วน สีสุภาพ

ที่พัก : ศาลาปฏิบัติธรรม ห้องพัก เตนท์เดี่ยว หรือเตนท์ ครอบครัว ห้องน้ารวม

อาหาร : อาหารมังสวิรัติ 3 มื้อ มีน้าปานะบริการผู้งดอาหารเย็น

กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของคอร์สอบรมเจ็ดวัน (3-9 มิย) “เตรียมตัวตายอย่างมีสติ…ในวิถีพุทธทิเบต”

บริจาคร่วมกิจกรรมตามศรัทธา
ลงทะเบียนภายในวันที่ 30 พฤษภาคมที่
1000tara@gmail.com โทร 0878299387, 0833008119

หลังการอบรมเตรียมตัวตายจนถึงสิ้นเดือน จะมีการจัดภาวนาเงินโดรสาหรับผู้ผ่านหลักสูตรศานติแห่งชีวิตหรือคอร์ส อบรม เตรียมตัวตาย และในช่วงเดียวกันคือ 4-30 มิถุนายน ขอเชิญทุกท่านร่วมกราบอัษฎางคประดิษฐ์วันละ 9 ครั้งเพื่อสลายอัตตาตัวตนและตั้งจิตทาความดีเพื่อผู้อื่นซึ่งจะเป็นกุศลที่ยิ่งใหญ่

การจัดคอร์สภาวนาเหล่านี้เพื่อให้ผู้มีจิตศรัทธาได้บาเพ็ญบุญุกุศลและให้ทุก ท่านที่สนใจได้ปฏิบัติธรรมเต็มที่ในเดือนที่มีวันวิสาขบูชาซึ่งงถือว่าเป็น เดือนสาคัญที่สุดเดือนหนึ่งของการบาเพ็ญบุญกุศล ส่วนสถานที่จัดกิจกรรมคือศูนย์ขทิรวัน ซึ่งมีความงดงามและเป็นสัปปายะ เหมาะแก่การปลีกวิเวกบาเพ็ญเพียร

Heart Sutra

I planned to blog about the Heart Sutra for quite some time, and now I am attending a seminar at my Faculty and there is a computer at the back so I got the opportunity to write about it now.

The key message of the Heart Sutra is nothing less than the key message of Buddhism itself. Let’s look at some of the most important passages from the Sutra:

Body is nothing more than emptiness,
emptiness is nothing more than body.
The body is exactly empty,
and emptiness is exactly body.

Volumes and volumes have been written on what the Sutra is supposed to mean, but the key here is that words alone are never enough. One will not be able to attain Nirvana through intellectual understanding alone. That is, attaining Nirvana is not something you can achieve by thinking and ratiocinating. One has to “see” reality, but it is not the kind of reality that we are accustomed to. It’s on the one hand the same reality, but on the other hand it’s completely different. It’s the kind of reality that one sees when one goes beyond all conceptual distinctions. This is not something that we can do just by deciding to do. It’s a highly advanced skill that requires a lot of effort and practice. The Buddha laid down the path toward realizing this skill through his teaching of morality, meditation and wisdom.

But the point I would like to emphasize here is the ultimately paradoxical character of the Buddha’s teaching: Emptiness is form; form is emptiness. What is there is exactly speaking what is not there, and what is not there is what is there. This way of speaking is not a play on words; it is the most direct expression of the core of the Buddha’s teaching. Some scholars try to interpret the paradox away, saying that the ultimate message beyond the paradoxical sentences is devoid of the paradox. But in fact the paradox is there, staring us at the face. Our task is not to shy away from it, but to face it and live with it and ultimately try to realize that the real truth is the paradox itself. The truth is what the Sutra says: Form (or the body in this translation) is emptiness and emptiness is form. We try to see the truth of the paradox, trying to realize its inevitably impossible and contradictory nature. It is through the contradiction that the point of the Buddha is carried through.

So this is all I can say about the Heart Sutra. So this is not quite a commentary because the point is that no commentary is possible. The Heart Sutra can also be used as a tool for those who meditate. You can memorize the whole text and when the mind is stilled within deep meditation, perhaps a breakthrough can happen. But that is not what we are looking for. The spirit of the Heart Sutra is that there is no goal while in fact there is a goal. It’s of course difficult, but one can certainly try.

Journey of Life and Mind

Public Talks on “Journey of Life and Mind”

 

The foundation invites the general public to attend  a conference/seminar on “Journey of Life and Mind” at Room 105 Mahachulalongkorn Building, Chulalongkorn University, Bangkok.

There will be two public talks by Latri Khenpo Geshe Nyima Dakpa Rinpoche on “Samsara…Journey of Life and Mind” and “Life’s Last Journey”. There will also be an introduction of Rinpoche’s book “Opening the Door to Bon” in the occasion of  its being translated into Thai.

 

Program of Rinpoche’s Talks in English (with Thai translations)

Saturday 11 February 2012

9.10-10.15 hrs: Samsara…Journey of Life and Mind

10.15-10.30 hrs: Refreshments

10.30-11.30 hrs: Opening the Door to Bon. An introduction to Tibetan ancient wisdom

Sunday 12 February 2012

13.00-14.30 hrs: Life’s Last Journey

14.30-15.00 hrs: Refreshments

15.00-16.00 hrs: Discussion

For registration, please email us at 1000tara@gmail.com. There are no registration fees. Donation to support the activities are welcome.

 

Fearlessness

Going Beyond Fear In This Dark Age

A Dharma Talk with Bruno Nua

“The Buddha taught that the mark of an enlightened being is fearlessness. Someone who has gone beyond fear is free from all the obscurations and obstacles that prevent us from manifesting as buddhas and ultimately benefitting others.
Fearlessness is that which literally gives birth to a buddha. It is the Mother of all the buddhas.”
[from BUDDHA’S FAVOURITE WORDS, Bruno Tashi Rabjay]
FEAR
Dwelling in the realm of ego breeds delusion. Not resting in our true nature gives rise to a vicious cycle of attachment and aversion, which manifests as afflictive emotions. These come in many forms such as addiction and anger, but they all boil down to the same disturbing forces: I want … I don’t want.
Also known as Hope and Fear, the chaotic emotions that spring from our ego-clinging are the very things that make us suffer. If we could only cut through any one of them, the whole deluded house of cards would crumble and fall. Then we would be liberated forever and enlightenment would flow like a river.
For this reason, the Buddha taught that the mark of an enlightened being is fearlessness. Someone who has gone beyond fear is free from all the obscurations and obstacles that prevent us from manifesting as buddhas and ultimately benefitting others.
We are deeply afraid of so many things: fear of the unknown, fear of losing our minds. We are all but completely paralysed, not living to our full potential. This fear comes from our utter distrust of letting go and opening up – it is also a primal fear of the openness and the emptiness of our Buddha Nature.
In this light, the high point of the Heart Sutra is said to be the line:
There is no fear.
The full name of this sutra is The Heart of Transcendent Knowledge. By definition, it teaches that the key to full enlightenment is fearlessness. The whole theme of this particular sutra [Skt. Prajnaparamita Sutra] is Going Beyond. The preamble describes the Buddha Nature as being ‘beyond words, beyond thought, beyond description. Prajnaparamita … unborn, unceasing, with nature like the sky’. The essence of the sutra is its mantra:
Gaté, gaté, paragaté, parasamgaté, bodhi suaha.
It is the perfect utterance of one who has already gone completely beyond all fear: Gone, gone, gone all the way over, completely gone over to the other shore. Fully awake, Yes.
The openness and contentment it describes is a total fearlessness that is egoless. Because of this earth-shattering breakthrough, one is freed up to focus on the ultimate welfare of others. Consequently, the Mahayana lineages call the Prajnaparamita the Mother of all the buddhas. Fearlessness is that which literally gives birth to a buddha. Tibetan Buddhism even goes so far as to depict the fearless mother of all the buddhas in female form as Tara.
In this way, we come to an understanding of the essence of the Buddha’s teachings. The core message is not about elaborate philosophical treatises. Nor is it even about depicting the Buddha Nature in one form or another. All this serves a much simpler purpose. They lead us to a basic truth: Through meditation practice, we can awaken and connect with our true nature. By developing an unshakable conviction in our primordial purity, our aim is to go beyond all philosophies, all images, all concepts. Then we become completely free to lead others out of their suffering.

About the author

Bruno is a Meditation Instructor, Dharma Educator, and a dabbler in the Creative Arts. He was born in 1965 in Dublin, Ireland where he later trained as a Philosophical Theologian at Trinity College. While still working as an educator in that area, Bruno encountered the heart of the Buddha’s teachings when he first met Sogyal Rinpoche in the early 1990s, which also quickly led to meeting Ringu Tulku Rinpoche and Thich Nhat Hanh.
Since then, while continuing to be a student of Buddhism, Bruno has taught meditation and presented the Buddha’s teachings in many Dharma centres, including Rigpa Dublin where he was Managing Director for some years. He has also engaged with presenting these teachings in prisons and hospices, education and training establishments, and in Non-Governmental Organisations dedicated to Caring in the Community.
He is the Founding Director of many pioneering projects such as Buddhist Network Ireland, Dublin International Buddhist Film Festival, Open Space and Lotus Temple, and has represented Irish Buddhists on the Inter-Religious Council of Ireland.
Nowadays, as well as teaching Meditation and various courses in Applied Mindfulness and Engaged Buddhism, Bruno is also very much committed to guest-lecturing a variety of programmes on Buddhism in Colleges and Universities.

More of Nyima Dakpa Rinpoche on Happiness

Here is the remaining portion of Nyima Dakpa Rinpoche’s talk on “Path to Happiness” at Chulalongkorn University that I talked about in the previous post. May all beings be happy and meet with causes of happiness!

**

Ordinary relaxation depends on external situation, but real happiness comes from inner realization. This is what the Buddhas teach. We have to use our opportunities for good causes. Material things can be either negative or positive, depending on how they are going to be used. We can use the material things to benefit people; we can make differences in their lives through these material things. This is a way to gain merit. Thus wealth can be meaningful. When you die you are left only with your own store of merit. You cannot bring your bank account with you when you die. You can use only another kind of account, the merit account that shows how much merit and demerit you have accumulated in your lifetime. So having wealth is not necessarily a bad thing; it can be a force for good and a considerable amount of merit too, if the wealth is used wisely, which is to benefit those who are in need.

Happiness only comes when you wish and act so that other people become happy. If you think only of benefiting only yourselves, thinking only that you yourself alone shall be happy, then you won’t be happy at all.

Be satisfied with your life. Be content and happy at every moment. Look into yourself. Look at your own mind, and then you will become more relaxed. Do not look up to other people. Don’t think that you need to be as rich as they are, as intelligent as they are, and so on. If we do, then there is no end. We will always look up, up and up and we will not be satisfied with what we have at all. You may aim at a certain level, but once you reach that point, there will be more and more higher up so you will always feel lacking and deprived, no matter how much you have already. Moving up, you will never be able to touch the sky.

Do not waste your life. It is very difficult to be born a human being, so let us not waste this very precious moment when we are human beings who are intelligent enough to understand the Buddhas’ teaching.

Things are always impermanent; they are always changing at every moment. However, many of us do not get this point so they act as if things are always permanent. The result is that they are mired in all sorts of suffering, including wandering around in samsara.

So when you are stressed or depressed, practice meditation. With proper way of practicing meditation, the genuine door toward real and lasting peace and happiness will lie open for us. The goal is to perceive things as they actually are, without any fabrications. Stay focused on things as they simply are. Discover the deep silence inside when your mind becomes still. This silence inside is none other than the happiness that we have been seeking. In that state of true meditation, your mind will simply dissolves into this state of pure, deep state of silence. But if you do meditation incorrectly, you will be full of endless chatters – your mind, instead of being calm and still, will be all the busier and noisier.

During your meditation, all kinds of thoughts will arise. They come spontaneously; they just come. So don’t be alarmed or stressed when thoughts arise. This is a very natural occurrence. What we need to do is just to leave those thoughts where they are, and then they will go away on their own. Don’t try to force the thoughts out of your mind. You will never succeed in doing that. It will only invite more and more thoughts. Then we will realize that there are actually no boundaries between thoughts – all thoughts dissolve into one another. This is the direct entrance into Emptiness, śūnyatā.  This is the state where we are truly free from all stresses, all fabricating thoughts, all defilements. We have full potential, full energy. This is the best way to combat the problem of unhappiness.

We need to practice in order that we can overcome the five poisons that have been afflicting us for so long. Then you don’t need to run around searching for cures anymore. The cure is already there inside your mind.

วิถีแห่งความสุข

การประชุมและเสวนาเรื่อง

วิถีแห่งความสุข”

ห้องประชุมจุมภฏพันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปกรำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม 2553 เวลา 8.30-17.30 .

จัดโดยมูลนิธิพันดาราและศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไล่ล่า “ความสุข” ก็เหมือนเด็กวิ่งไล่จับรุ้งกินน้ำ

ดิลโก เคียนเซ ริมโปเช

หลักการและเหตุผล

ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่หลายคนกลับไม่รู้ว่าความสุขที่แท้จริงคืออะไร สังคมสมัย ใหม่ที่เต็มไปด้วยบริโภคนิยม มักให้ความหมายว่า ความสุขคือสิ่งที่ซื้อได้ด้วยเงิน และเป็นสิ่งเดียวกันกับความพึงพอใจทางเนื้อหนัง หรือการได้บํารุงบําเรอประสาทสัมผัสต่างๆ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือยิ่งเราใช้ จ่ายบริโภคไปเท่าใด ก็ดูเหมือนว่าเรายิ่งห่างไกลจากความสุขไปเท่านั้น เพราะกลับเกิดความไม่พอใจ หรือไม่รู้จักพอเพียงอยู่ตลอดเวลา

ความสุขจึงเป็นสิ่งที่ผู้คนไขว่คว้า แต่ก็ดูเหมือนว่าจะไม่ได้รับ เปรียบเสมือนเด็กวิ่งไล่จับ รุ้งกินน้ำ ความสุขเกิดขึ้นแล้วหมดไปอย่างรวดเร็ว เพราะความสุขที่ผู้คนส่วนใหญ่คิดคํานึงเป็นเพียง ความสุขที่เกิดจากเหตุปัจจัยจากภายนอกไม่ว่าจะเป็นชื่อเสียง เกียรติยศ เงินทอง สมบัติ หรือความ ปรารถนาที่จะครอบครองสิ่งใด ด้วยเหตุนี้ ผู้คนจึงยังเต็มไปด้วยความทุกข์ และเกิดปัญหาความขัด แย้งต่างๆมากมายในสังคม

กล่าวโดยรวมก็คือ ความสุขเป็นยอดปรารถนาของทุกคน แต่ในท่ามกลางสังคมที่เต็มไปด้วย การแข่งขันและการบริโภคเช่นที่เป็นอยู่นี้ ความสุขกลับกลายเป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกล เราอาจเปรียบได้กับ ม้าที่วิ่งอย่างไม่เหน็ดเหนื่อย เพราะอยากกินแครอทที่แขวนอยู่ข้างหน้ากับหลักที่ติดอยู่กับอานม้า ไม่ว่า ม้าจะวิ่งไปมากเท่าใดหรือเร็วเท่าใด ก็ไม่ได้กินแครอทเสียที ภาพนี้สามารถอธิบายสภาพของสังคมที่ เราดํารงอยู่ได้เป็นอย่างดี

ด้วยตระหนักถึงความสําคัญของการอภิปรายและเสวนาเกี่ยวกับความสุขในหลากหลายมิติ คณะผู้จัดจึงได้จัดประชุมและเสวนาเรื่อง “วิถีแห่งความสุข” ขึ้นโดยได้เชิญพระอาจารย์ในหลากหลาย วิถีของพระพุทธศาสนา นักวิชาการ นักเขียน นักแสดง ตลอดจนนักวางแผนกลยุทธ ที่ได้ศึกษาพระพุทธ ธรรมและได้นํามาใช้เป็นหลักในการดํารงชีวิต มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ให้ข้อคิด และให้แรง บันดาลใจต่อการดํารงชีวิต

การประชุมครั้งนี้จะทําให้ผู้เข้าร่วมประชุมและสังคมโดยรวมได้หันมาทําความเข้าใจความ หมายของความสุขกันอย่างจริงจังและได้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์เกี่ยวกับเรื่องนี้ เพื่อไม่ ให้นิยามของความสุขอยู่เพียงแค่การได้มาซึ่งวัตถุหรือสิ่งที่ปรารถนาจะครอบครอง อันเป็นความสุขที่ ไม่จีรังและเป็นต้นตอของความทุกข์อีกมากมาย

นอกจากนี้ ในการประชุม ประเด็นหนึ่งที่จะได้หยิบยกคือเรื่องความสุขที่โยงกับจิตวิญญาณ และ เรื่องของ “บริโภคนิยมทางจิตวิญญาณ” (spiritual consumerism) ซึ่งเกิดจากการทํามิติทางจิตวิญญาณ ให้กลายเป็นสินค้าที่มาบริโภคกัน ไม่ต่างจากสินค้าและบริการประเภทอื่น

วัตถุประสงค์

1. ชี้ให้เห็นหลากหลายหนทางและแนวทางในการเข้าถึงความสุข

2. เสนอทางออกให้แก่ผู้คนในสังคมว่าความสุขที่แท้จริงและยั่งยืนนั้นจะได้มาได้อย่างไร

3. กระตุ้นความสนใจที่จะศึกษาค้นคว้าวิจัยและวิพากษ์เกี่ยวกับความสุขในแง่มุมต่างๆในสังคมไทย

การลงทะเบียน

ไม่เก็บค่าลงทะเบียน ทางมูลนิธิยินดีบริการอาหารว่างและเครื่องดื่มสําหรับผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน ผู้ มีจิตศรัทธาสามารถร่วมทําบุญเป็นเจ้าภาพอาหารว่างหรืออาหารกลางวันสําหรับวิทยากรและจิตอาสา ช่วยงาน

โปรดสํารองที่นั่งล่วงหน้าภายในวันที่ 27 กันยายน 2553 Email: 1000tara@gmail.com มือถือ 0806100770

รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับมูลนิธิ http://www.thousand-stars.org; http://krisadawan.wordpress.com; http://www.facebook.com/ มูลนิธิพันดารา

กำหนดการ วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม 2553 (ฉบับปรับใหม่)
8.30 น. ลงทะเบียน

9.00 น. พิธีเปิดและภาวนาเพื่อสันติสุข ของสรรพชีวิต

9.15 น. เสวนา “วิถีแห่งความสุข”
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ (ผู้เชี่ยวชาญด้านทิเบต) สุรเชษฐ เวชชพิทักษ์ (อาจารย์สอนการเปลี่ยนแปลงตนเองและรองผอ. มูลนิธิส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน) ณัฐฬส วังวิญญู (สถาบันขวัญแผ่นดิน)

10.45 น. เติมความสุขยามเช้า

11.15 น. “จิตวิทยาแห่งความสุข”
ดร. กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์ (ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

12.00 น. พักผ่อนยามเที่ยงและรับประทา นอาหารกลางวันตามอัธยาศัย

13.00 น. “มองเรื่องร้าย…ด้วยความสุข”
คุณมาฬิศร์ เชยโสภณ (นักแสดง นักเขียน บรรณาธิการ ผู้เขียน

14.00 น. “ความสุขบนความทุกข์”
จิตร์ ตัณฑเสถียร (นักวิจัยพฤติกรรมและนักวางแผนกลยุทธ์การสื่อสาร)

14.45 น. จิบความสุขในความว่าง

15.00-17.00 น. “ความสุขในมุมมองของซกเช็น” (Happiness in Dzogchen Perspective)
ลาตรี เคนโป ญีมา ทรักปา ริมโปเช (ครูทางจิตวิญญาณชั้นนำของทิเบต ผู้สร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมในหลายประเทศทั่วโลก)
**บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ แปลเป็นไทยโดยดร. กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์

ปรับแต่งเสียงของสมาธิ

ทีนี้อาจเกิดขึ้นได้ว่าเราปฏิบัติสมาธิมากเกินไป เราพยายามมากไปหรือเพ่งนานมากไป จิตอาจจะขุ่นมัวด้วยแรงปฏิกิริยาอันเกิดจากความตึงเครียด และเราอาจพบว่าเราเองตกลงไปสู่ความง่วงงุน ความหลง หรือความเซื่องซึม หากเราพบความขุ่นมัวเช่นนี้ เราก็ควรจะพยายามพัฒนาสิ่งที่เรียกว่า “ปัญญาญาณอันแยกแยะ” เราถอยกลับไปที่จุดตั้งต้นแล้วก็เริ่มใหม่ ตรวจสอบจิต จิตอยู่ข้างในหรือข้างนอก? หากอยู่ข้างในจิตนั้นคืออะไร? จิตมีขนาด รูปร่าง สี ตำแหน่งหรือไม่? ขอให้เราเตือนตัวเองเกี่ยวกับธรรมชาติอันแท้จริงของจิต การทำเช่นนี้จะขับไล่ความขุ่นมัวไปได้

อีกทางหนึ่ง หากเราใช้การวิเคราะห์หรือการแยกแยะมากเกินไป จนทำให้จิตผูกติดอยู่กับญาณทัศนะอันส่องแสงเจิดจ้า จิตก็จะมีปฏิกิริยาด้วยการกระจัดกระจายฟุ้งซ่าน จิตจะไม่อยู่ในสมาธิแต่จะกระสับกระส่ายไปมา ในขั้นตอนแรกๆของการปฏิบัติการฟุ้งซ่านนี้จะหยาบมาก แต่ในขณะนี้จิตเพียงแค่ไม่ยอมอยู่นิ่งและไม่ยอมอยู่ในสถานะของสมาธิ เนื่องจากว่าเราใช้การวิเคราะห์ด้วยเหตุผลมากจนเกินไป

วิธีที่จะหลีกเลี่ยงความผิดพลาดทั้งสองประการนี้ก็คือทำทุกอย่างให้ง่ายๆสบายๆ เข้าสู่สมาธิและดำรงอยู่อย่างนั้นด้วยความชำนาญและความเรียบง่าย ให้เรารักษาสมดุลเอาไว้ อย่ากดให้มากเกินไป ตัวอย่างเช่นหากเรากำลังใส่ก้อนหินเข้าไปในลัง เราไม่สามารถทำได้ดีหากโยนก้อนหินเข้าไปจากระยะไกล เมื่อเราฟั่นด้ายให้เป็นเชือก หากเราฟั่นไม่ดีไม่ทำให้เหนียวแน่น เชือกก็จะหลุดกระจายออกมา ฉันใดก็ฉันนั้นการปฏิบัติสมาธิของเราก็ควรทำไปด้วยความสม่ำเสมอที่พอดี

มีพระสูตรที่เล่าเรื่องเกี่ยวกับพระสาวกของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารูปหนึ่ง ซึ่งเคยเป็นนักดนตรีมาก่อนที่จะมาบวช พระภิกษุรูปนี้มีปัญหากับการทำสมาธิ บางครั้งก็ไปได้ดี แต่บางครั้งก็พบว่าตนเองเฉื่อยชากับง่วงงุน แต่บางครั้งจิตของท่านก็ซัดส่ายฟุ้งซ่านไปมา เมื่อท่านพยายามแก้ปัญหาด้วยการท่องมนตรา จิตของท่านก็แล่นเตลิดเปิดเปิงบังคับไม่ได้ ท่านจึงไปหาพระพุทธเจ้าแล้วทูลถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าตรัสถามว่า “เมื่อท่านยังเป็นนักดนตรีขณะเมื่อยังเป็นฆราวาสอยู่นั้น ท่านขึงสายเครื่องดนตรีตึงเกินไปหรือไม่?” พระภิกษุรูปนี้ก็ตอบว่า “ไม่ พระเจ้าข้า หากข้าพระองค์ทำเช่นนั้นก็จะไม่สามารถเล่นได้”

พระพุทธเจ้าก็ตรัสถามอีกว่า “แล้วท่านทำอย่างไร?” พระภิกษุก็ทูลตอบว่า “ข้าพระองค์ขึงสายไม่ให้ตึงไปหรือหย่อนไป แต่ให้พอดี” พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “ให้ท่านขึงสายสมาธิของท่านให้พอดีเช่นเดียวกัน” พระภิกษุรูปนั้นก็ปฏิบัติตามที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำ และไม่นานท่านก็สำเร็จเป็นพระอรหันต์

เนื้อหาของพระสูตรนี้ก็คือว่า แม้ในขณะที่เรากำลังปฏิบัติสมาธิขั้นสูง เราก็ต้องรักษาสมดุลย์หรือความพอดีเอาไว้ในการปฏิบัติทั้งสมถและวิปัสสนาภาวนา เมื่อทั้งสองนี้ปฏิบัติร่วมกันอย่างเท่าๆกันโดยไม่มีการแบ่งแยก เราก็จะพ้นจากการสูญเสียสมาธิ การตกต่ำหรือการหลุดออกนอกเส้นทางที่อาจเกิดขึ้นได้ หากเรามีอย่างใดอย่างหนึ่งมาจนเกินไป ผลที่ได้ก็จะไม่ใช่พระสัมมาสัมโพธิญาณ แต่เราจะเข้าสู่อรูปฌานอย่างใดอย่างหนึ่งในสี่ประการ ซึ่งเราจะพูดเรื่องนี้กันต่อไป สรุปก็คือสิ่งที่เราจะหวังได้มากที่สุดจากความเพียรของเราแม้ว่าเราจะคิดว่าเรากำลังปฏิบัติสมาธิภาวนาพิจารณาศูนยตาอยู่ก็ตาม ก็คืออรูปฌานทั้งสี่นี้ หาใช่พระพุทธภาวะไม่

ตัวอย่างเช่น หากเราใช้วิปัสสนามากเกินไป ไม่ว่าญาณทัศนะของเราจะลึกซึ้งปานใด สิ่งที่เราจะได้อย่างมากที่สุดก็คือการดำรงอยู่ในอรูปภูมิหนึ่งในสี่ภูมินี้ ในอรูปภูมิผู้ที่อาศัยในนั้น (เรียกว่าพระพรหม) ปฏิบัติสมาธิอยู่กับลักษณะใดลักษณะหนึ่งของการไม่มีรูป เช่น “ไม่มีอะไรเลย” สภาวะเช่นนี้เรียกได้อย่างถูกต้องว่า “การหลุดออกนอกเส้นทาง” หรือ “การตกต่ำ” เพราะว่าการปฏิบัติของเรากำลังพาเราออกจากเป้าหมายอันได้แก่การหลุดพ้นจากสังสารวัฏแล้วพาเข้าไปสู่ประสบการณ์เหล่านี้ ซึ่งไม่ว่าจะสูงส่งเพียงใดแต่ก็ไม่ใช่เป้าหมายที่เราแสวงหา ดังนั้นการตระหนักเกี่ยวกับการออกนอกเส้นทางเหล่านี้ ตลอดจนรู้ถึสาเหตุและจะหลีกเลี่ยงอย่างไร จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก

เมื่อเราถอนออกจากสมาธิและกลับมาใช้ชีวิตตามปกติประจำวัน เราก็ไม่ควรปล่อยให้จิตซัดส่ายไปมากับตกอยู่ใต้อำนาจความหลงอีกต่อไป แต่เราควรจะมีสติกับสัมปชัญญะ รู้ตัวทั่วอยู่กับสิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับจิต พร้อมกับสิ่งที่จำเป็นในการรักษาสถานะของสมาธิที่ดีที่สุดเอาไว้ เมื่อเราใช้ชีวิตตามปกติเราก็มีสติอยู่เสมอ ประพฤติตัวให้ดีที่สุดที่เราจะทำได้เพื่อบรรลุเป้าหมายอันได้แก่ประโยชน์สูงสุดของสรรพสัตว์

— จาก การเห็นทางธรรมสามระดับ ของเตชุง ริมโปเช